ร.ท.หญิง สุณิสา กล่าวอีกว่า ปัจจุบันเจ้าหน้าที่กลุ่มดังกล่าวมีประมาณ sixty five,172 คน ต้องใช้งบประมาณจำนวน three,300.82 ล้านบาท ซึ่งในจำนวนนี้มีบุคลากรที่ต้องลงไปปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามนโยบายสร้างสันติสุขภาคใต้ของรัฐบาล จำนวน 2,040 อัตรา ทั้งนี้ ขอให้ หน่วยงานต่าง ๆ ที่มีเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้าง ที่ได้รับค่าจ้าง ในลักษณะจ้างเหมา พิจารณาความจำเป็นหากต้องปรับค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล และเสนอความต้องการผ่านคณะกรรมการระดับชาติ เพื่อขอความเห็นชอบจากครม.ต่อไป. การเปลี่ยนระดับชั้น ถ้าเดิมอยู่ชั้น 2 ก็ต้องค่อย ๆ เปลี่ยน เป็นชั้น 3 และชั้น four ตามลำดับค่ะ ไม่กระโดดข้ามไปนะค่ะ…เพียงแต่เปิดเพดานค่าจ้างให้สูงขึ้นค่ะ ค่อย ๆ ไต่ไปค่ะ…อยู่ที่ส่วนราชการด้วยนะค่ะ ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการว่าสามารถทำได้ค่ะ… ต้องถามหัวหน้าส่วนราชการด้วยค่ะ…ถ้าเข้าใจตรงกันก็สามารถทำได้ค่ะ เพราะเรา สามารถพัฒนาและมีความก้าวหน้าด้วยตัวของเราเองค่ะ…ต้องเป็นไปตามคุณสมบัติการเปลี่ยนตำแหน่งที่ไปด้วยนะค่ะ…และหน้าที่ที่เราได้ปฏิบัติอยู่ด้วยค่ะ…(ถ้าเปลี่ยนได้แล้ว ก็อยู่ที่ค่าจ้างเราจะPass ไปตรงค่าจ้างชั้น three ที่ใกล้เคียงกันกับตำแหน่งเดิม แต่สูงกว่าตำแหน่งเดิม ในกรณีได้ 2 หรือ 4 % ก็สามารถเลื่อนขั้นขึ้นไปได้อีก zero.5 หรือ 1 ขั้น ตามลำดับค่ะ)…
เหตุที่ผู้เขียนต้องมานั่งตอบ มาบอก เพียงเพื่อ “ให้ทราบว่าโลกปัจจุบันเขาไปถึงไหนกันแล้ว มีการเปลี่ยนแปลงต่อบ้านเมืองและระบบราชการมากมาย แต่บางคนก็มิได้ศึกษา แต่อยู่เพื่อรับเงินเดือนไปวัน ๆ ไม่สมกับตนเองได้รับเงินเดือน เงินประจำตำแหน่งกันเลย ไม่คิดถึง คำว่า “ข้าราชการ” ที่ดีมากนัก น่าสงสารประเทศชาติจังค่ะ… สำหรับคนที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ เป็นผู้ที่ต้องการปรับเปลี่ยนตำแหน่ง จะต้องทำอย่างไรนั้น…ผู้เขียนขอบอกว่าให้เตรียมตัว “อ่านหนังสืองานสารบรรณ หรือเรื่องที่ส่วนราชการต้องการสอบเพื่อคัดเลือกท่าน” เท่านั้นเองค่ะ…สอบให้ผ่านตามที่ผู้เขียนบอกข้างต้นค่ะ… จากข้อ 2 สามารถทำเรื่องไปที่ กลุ่มงานบุคคลของ สพท. ก่อนนะค่ะ…เพราะเขาเป็นส่วนราชการที่ต้องดูแลกลุ่มลูกจ้างประจำอยู่…ปรึกษาเขาก่อนก็ได้ว่าเรามีคุณสมบัติครบ และเพื่อความก้าวหน้าของเราเอง…(เขาจะทำเรื่องไปที่ สพฐ. แล้ว สพฐ.จะนำเรื่องคุณเสนอให้ สำนักงาน ก.พ. เองค่ะ)… ถ้าจะไปอยู่กลุ่มที่ 2 ได้ คุณต้องมีการปรับเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ three ก่อนค่ะ อาจโดยการสอบคัดเลือก ซึ่งส่วนราชการจะเป็นผู้จัดสอบเกณฑ์ต้องเป็นไปตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของพนักงานพิมพ์ ระดับ 3 นะค่ะ…เมื่อสอบได้และได้รับการแต่งตั้งเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ three แล้ว จึงจะสามารถไปยังกลุ่มที่ 2 ได้ค่ะ…(ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.พ. กำหนดค่ะ)…
ถ้าตัน คงต้องปรับเปลี่ยนเป็นตำแหน่งอื่นหรือเปล่า แต่ก็ต้องเป็นงานที่เราได้ปฏิบัติอยู่ด้วยนะคะ… การที่จะไปยังบัญชีกลุ่ม 2 นั้น ก็ต้องได้ขั้นค่าจ้างเต็มขั้นของกลุ่มบัญชี 1 ก่อนค่ะ… คงต้องขึ้นอยู่กับ “จิตใต้สำนึก” ของข้าราชการแต่ละคนแล้วละค่ะ…
น่าจะได้รับเรื่องแล้ว เพราะถ้าไม่อย่างนั้นจะทำคำสั่งเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ ณ 1 ตุลาคม 2553 ไม่ได้ค่ะ… ถ้าสงสัยก็สอบถามมาใหม่นะค่ะ…แต่ต้องบอกรายละเอียดให้ชัดเจนมากขึ้นค่ะ พี่ถึงจะตอบได้ค่ะ… แต่ถ้าเราเคยเป็นช่างครุภัณฑ์ ระดับ three มาแล้ว + มีคำสั่งให้เราทำเกี่ยวกับเรื่อง ช่างไม้ ก็สามารถเปลี่ยนตำแหน่งได้แล้วค่ะ… บัญชีค่าจ้างแบบใหม่ (1 เม.ย. 2553) มีผลบังคับใช้แล้วค่ะ…ศึกษาได้ตามบล็อกดังกล่าวที่แจ้งไว้ค่ะ…ค่อย ๆ ศึกษาไปนะค่ะ… น่าจะไม่ได้นะค่ะ…เพราะที่แจ้งเกี่ยวกับลูกจ้างประจำทั้งหมดนี้ จะเป็นลูกจ้างประจำที่ใช้ระเบียบของกระทรวงการคลังค่ะ…
กระบวนการดำเนินการ อาจมีการสอบ ขึ้นอยู่กับส่วนราชการค่ะ… อ่าน เรื่อง “ระเบียบและกฎหมายที่ลูกจ้างประจำควรทราบ” ได้จากบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ… เพราะการเปลี่ยนตำแหน่งต้องมีการ อาจสอบคัดเลือก ซึ่งต้องเป็นเรื่องใหญ่ที่ จนท.ต้องทำไงค่ะ เลยต้องให้คำสั่งเข้าแท่งให้เรียบร้อยก่อนค่ะ…
ระดับ three ในกลุ่มค่าจ้างจะอยู่ในกลุ่มที่ แล้วค่ะ ไม่ต้องทำอะไรทั้งนั้น เมื่อค่าจ้างเต็มขั้นแล้ว เจ้าหน้าที่จะปรับให้คุณโดยเทียบค่าจ้างที่สูงกว่า 18,190 บาท โดยสามารถเลื่อนเป็นค่าจ้างที่สูงขึ้น ได้เลยค่ะ ถ้าจำไม่ผิด 18,380 บาท ค่ะ เพราะที่ ม. ก็ดำเนินการไปให้กับลูกจ้างแล้วค่ะ…เป็นเพราะกรมบัญชีกลาง กำหนดให้แล้วนี่ค่ะ ว่าตำแหน่งพนักงานพิมพ์ อยู่ในกลุ่มการรับค่าจ้างที่กลุ่ม 1-2 ค่ะ (ไม่ต้องทำอะไรแล้วค่ะ) งานการเจ้าหน้าที่สามารถดำเนินการได้เลยค่ะ…จนกว่าจะไปตันที่ค่าจ้างขั้นสูงของกลุ่มที่ 2 ค่อยดำเนินการเปลี่ยนตำแหน่งให้ใหม่ค่ะ… ขอได้สิค่ะ…ทำไมขอไม่ได้ละค่ะ…เพราะหนังสือเกี่ยวกับมาตรฐานกำหนดตำแหน่งลูกจ้างประจำก็ออกบังคับใช้แล้ว…ตอนนี้ ตำแหน่งใหม่ก็ได้มีผลใช้แล้ว…ของ ม. ก็แจ้งมาให้ทราบแล้วค่ะ…ดูในเว็บที่ผู้เขียนนำมาเขียนไว้ในบล็อกนะค่ะ…และก็ได้ชี้แจงให้ลูกจ้างประจำในสังกัดทราบไปด้วยแล้ว…และผู้เขียนก็ได้ประสานกับกรมบัญชีกลางแล้วได้รับแจ้งมาว่า… ขอเรียนสอบถามพี่ว่า ทำไมตอนนี้ทาง สพม.ยังไม่มีหนังสือแจ้งเรื่องการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ตำแหน่งใหม่เลย ตอนนี้ยังไม่สามารถดำเนินการอะไรได้เลย บัญชีเงินเดือนยังใช้บัญชีเดิมอยู่เลย ทำไมไม่รวดเร็วเหมือนหน่วยงานของ มรภ.เลย ทั้งๆที่อยู่ในกระทรวงเดียวกัน สอบถามทางเจ้าหน้าที่ ได้รับคำตอบว่า ต้องให้ทางหน่วยเหนือสั่งลงมาก่อน ….
ท่านสามารถศึกษารายละเอียด เรื่อง “การแต่งตั้งลูกจ้างประจำไปดำรงตำแหน่งใหม่” ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0428/ว eighty three ลงวันที่ 17 สิงหาคม 2553 ตามบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ… เป็นเพราะรัฐปรับปรุงเปลี่ยนแปลงความก้าวหน้า มั่นคงและเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบันค่ะ…แต่ลูกจ้างประจำก็ต้องมีการพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้นด้วยนะค่ะ…เพื่ออนาคตและความมั่นคงในอาชีพของท่านด้วยค่ะ… ไม่ทราบว่า คุณเป็นลูกจ้างประจำที่ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ค่ะ ถ้าใช่ ตำแหน่งคุณ คือ ช่างโลหะแผ่น ชั้น 2 ซึ่ง ไม่มีในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของลูกจ้างประจำนะค่ะ มีแต่ ตำแหน่งช่างโลหะ…
ข่าวสดประชาชาติธุรกิจสุดสัปดาห์ศิลปวัฒนธรรมเทคโนโลยีชาวบ้านเส้นทางเศรษฐีสำนักพิมพ์มติชนศูนย์ข้อมูลมติชนมติชนอคาเดมีKhaosod EnglishMatichon Investor Relationร่วมงานกับเรา. 2) แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. ด้วย ก็แสดงว่า เป็น “ลูกจ้างประจำของส่วนราชการ” และใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. • ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงให้ลูกจ้างประจำได้รับสิทธิประโยชน์เพิ่มขึ้น ผู้เขียนจะนำมาแจ้งให้ทราบค่ะ… งานสารบรรณ ยังใช้ของปี 2526 และเพิ่มเติมฉบับที่ 5 พ.ศ. 2548 ตามระเบียบสำนักนายภรัฐมนตร่ค่ะ…
สำหรับค่าจ้างใหม่ ถ้าเทียบเข้าสู่กลุ่มงาน คงยังไม่ได้หรอกค่ะ…จะได้ก็ตอนเลื่อนขั้น 1 ตุลาคม 2553 ค่ะ…สำหรับการเปลี่ยนตำแหน่งนั้น คุณต้องมีหน้าที่ทำงานตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่จะปรับเปลี่ยนด้วยนะค่ะ…ถ้าภาระงานไม่มี ก็ไปตำแหน่งนั้นไม่ได้ค่ะ…คุณลองศึกษาตามบล็อกด้านล่างนี้ด้วยนะค่ะ… ค่ะก็ขอแสดงความยินดีด้วยนะค่ะ…ได้แน่ค่ะ…แต่ต้องรอให้กระบวนการเรียบร้อยก่อนนะค่ะ…ของที่ ม. ผู้เขียน ลูกจ้างประจำก็ได้รับทราบกันเรียบร้อยแล้วค่ะ…แต่ขอฝากเรื่องการพัฒนาตนเองด้วยนะค่ะ…ถ้าเราพัฒนาความรู้ พัฒนางานของเราให้ดีขึ้น…รัฐไม่ทิ้งท่านหรอกค่ะ…เพียงแต่บางครั้งต้องรอเวลาค่ะ…จะให้ได้ดังใจเราไม่ได้หรอกค่ะ… ขอบคุณค่ะ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนอยู่แล้วค่ะ ในเมื่อรู้ ก็ต้องการให้ทุกคน ได้รู้เหมือน ๆ กับที่เรารู้ เพราะปัจจุบันเป็นโลกของการจัดการความรู้จริง ๆ อยู่ที่ใครจะอุทิศหรือสละเวลาให้กับประเทศชาติได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับจิตใต้สำนึกของการเป็นข้าราชการจริง ๆ ค่ะ ผู้เขียนเพียงอยากเห็นการพัฒนาของประเทศเป็นไปอย่างจริงจัง การพัฒนานั้น ต้องมาจาก “คน” ก่อน ในเมื่อคนมีการพัฒนาแล้ว ต่อ ๆ ไป ก็จะพัฒนาตามกันมาเองค่ะ…
ไม่รู้ว่าของสาธารณสุข ทำกรอบไว้หรือค่ะ…เพราะของ ม. ก็ไม่มีกรอบกำหนดไว้แบบที่คุณบอกนะคะ สามารถโตได้จนกว่าความสามารถของลูกจ้าง ฯ คนนั้นจะไม่สามารถทำได้เองไงค่ะ… ในระบบการบริหารงานบุคคล สำหรับการเสมอภาคนั้น เป็นไปไม่ได้หรอกค่ะ…เพราะขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์ค่างานค่ะ… ตอนนี้ผู้เขียนก็ให้งานราชภัฏวิจัยเรียบร้อยก่อนค่ะ จะตรวจสอบดูลูกจ้างภายใน มรพส.
คุณสมบัติให้ใช้ข้อใดข้อหนึ่งค่ะ เพราะมีคำว่าหรือ… เพื่อที่ทางลูกจ้างทางนี้จะได้รับความรู้และการช่วยเหลือที่ดีเยี่ยมจากอาจารย์… แต่ถ้ายังต้องการ ก็โพสต์เข้ามาถามใหม่ก็ได้ค่ะ จะได้ส่งให้ค่ะ… กำหนดตำแหน่งใหม่หรือไม่…ถ้าทำแบบเดิม ก็ไม่สามารถทำได้ค่ะ… ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ… ปัจจุบันสามารถได้รับบำเหน็จรายเดือนได้แล้วค่ะ ตามไฟล์ด้านล่างนี้นะค่ะ…
สำหรับตำแหน่ง ขอให้บอกให้ชัดด้วยนะค่ะ ว่า ตำแหน่งใดแน่ ลองดูในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ผู้เขียนเขียนไว้สิค่ะ…หรือให้ดูในหมายเลข 96 ก็ได้ ลองศึกษาดูนะค่ะ…ผู้เขียนได้เขียนไว้หลายบล็อกค่ะ… ลองดูนะค่ะ…ถ้าสงสัยค่อยถามมาใหม่ค่ะ…เพราะเกรงว่าจะไม่ใช่ลูกจ้างประจำตามระเบียบดังกล่าวข้างต้นค่ะ… สำหรับการอยู่ในกลุ่มที่ เช่น กลุ่มที่ ถ้าปัจจุบันค่าจ้าง อยู่ที่กลุ่มที่ 2 ยังไม่สามารถเลื่อนไปที่ กลุ่มที่ three ได้เลย ต้องรอให้ค่าจ้างเต็มขั้นในกลุ่มที่ 2 ก่อนค่ะ จึงจะเลื่อนไปยังกลุ่มที่ 3 ได้ การเลื่อนไปยังกลุ่มที่ three จะเลื่อนได้ครั้งเดียว ในกรณีที่เต็มเพดานกลุ่มที่ 2 แล้วค่ะ…
ให้คุณดูที่รหัส 2101 คือ ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ระดับ 3 ตามไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ… สำหรับการปรับเปลี่ยนกลุ่ม น่าจะรอให้เงินเดือนในกลุ่มเดิมเต็มขั้นก่อน แล้วจึงจะทำการปรับเปลี่ยนให้ค่ะ… นักร้องหนุ่มไม่สำนึก พราวด์นั่งแท่นลูกรักทำผิดก็แค่ขอโทษ “มาดามกุ๊งกิ๊ง” มาแล้วย่ะทุกคน ตามมาแซ่บ มาเผือกกันเร็ว คิดว่าเดาไม่ยาก ทุกคนรู้เชื่อเดี๊ยน…
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของลูกจ้างประจำที่กระทรวงการคลังกำหนด ทุกกระทรวงใช้แนวทางเดียวกันหรือเปล่าคะ เช่น สพฐ. ถ้าเป็นอย่างที่บอกข้างต้น ก็สามารถปรับตำแหน่งใหม่ได้ ในระดับเดิมค่ะ… นะค่ะ ถ้าอยู่ในตำแหน่งระดับครุภัณฑ์ ระดับ 3 น่าจะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง กลุ่มที่ 2-3 นะค่ะ… แต่ถ้าปัจจุบันส่วนกลางมอบอำนาจมาให้ส่วนราชการดำเนินการเองแล้ว ก็ดำเนินการประกาศ ฯ แบบที่พี่บอกข้างต้นนั่นแหล่ะค่ะ…
ไม่ทราบว่าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการหรือไม่ …เนื่องจากข้อมูลไม่ละเอียดพอ…ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการหรือไม่ ถ้าเป็นเทศบาล ต้องสอบถามที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนะค่ะ…เพราะไม่เกี่ยวกับลูกจ้างประจำของส่วนราชการนะค่ะ…ที่พี่เขียนนี้จะเกี่ยวกับระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการค่ะ… ผู้เขียนได้เขียนเรื่อง “การคิดเชิงบวก” ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อคิดในการดำเนินชีวิต + การทำงาน อาจมีประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตประจำวัน…ศึกษารายละเอียดได้ตามบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ…ขอบคุณค่ะ… “หมวดเจี๊ยบ” เผย ครม.อนุมัติปรับขึ้นอัตราเงินเดือน ลูกจ้าง-ภารโรง คณะกรรมการปฏิรูป ก.ม.ทั้งให้ สพฐ.รองรับ นศ.ทุนพระราชทานกลับภูมิลำเนา “ครูคืนถิ่น” นอกจากนี้ให้กีฬาแห่งชาติจัด 2 ปีต่อครั้ง… สำหรับที่สำรวจลูกจ้างประจำที่มีลักษณะงานเหมือนข้าราชการนั้น ผู้เขียนก็ไม่ทราบค่ะ ต้องสอบถามที่ ก.พ.
ไม่ทราบว่าลูกจ้างประจำของสังกัดกระทรวงกลาโหม ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ค่ะ ถ้าใช้ ก็น่าจะปรับเปลี่ยนเหมือนเช่นที่ผู้เขียนบอกค่ะ…แต่ถ้าไม่ใช่ต้องสอบถามที่หัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่งานการเจ้าหน้าที่ดูนะค่ะ…เพราะต้องเข้าใจว่า บางครั้งกฎหมายราชการมีมากมายเหลือเกินค่ะ เกินว่าที่ผู้เขียนจะทราบหมดทุกเรื่องค่ะ… แจ้งมาไม่มีตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้…ซึ่งสำนักงาน ก.พ. ก็ได้แจ้งให้ทราบตามหนังสือ ในไฟล์ด้านล่างนี้ (ข้อ 2) แต่บัดนี้ล่วงเลยเวลามานานแล้ว…ขอให้คุณติดต่อสำนักงาน ก.พ. ตามเบอร์โทร.ในหนังสือด้านล่างนี้นะค่ะ…ประสานกับเจ้าหน้าที่ที่ทำเรื่องนี้ ว่าจะให้ดำเนินการอย่างไรต่อไป…ถ้าเขาแจ้งให้ทำไปเพิ่มเติม เราก็แจ้งไปได้ค่ะ…ถ้าเขาบอกไม่ได้ ถามเขาว่ามีวิธีใดบ้างที่จะแก้ปัญหา…และเตรียมเหตุผลที่จะตอบเจ้าหน้าที่ด้วยนะค่ะว่า ทำไมไม่ทำในตอนที่สำนักงาน ก.พ.
อีกอย่างอาจทำบันทึกข้อความในการขอปรับเปลี่ยนตำแหน่ง ว่าขอปรับเปลี่ยนเพราะเหตุใด การที่เป็นพนักงานบริการจะขอปรับเป็นพนักงานธุรการ ต้องมีคำสั่งว่าได้สั่งให้เราปฏิบัติงานในตำแหน่งพนักงานธุรการด้วยนะค่ะ…ถ้ามีงานที่เกี่ยวกับตำแหน่งพนักงานธุรการ เช่น การทำงานธุรการ งานสารบรรณ รับ – ส่งหนังสือ จัดเก็บเอกสารของทางราชการ ก็สามารถขอปรับเปลี่ยนได้ แต่ต้องมีคุณสมบัติตรงตามระดับตำแหน่งแต่ละระดับด้วยนะค่ะ…(ยึดคำสั่งมอบหมายงานเป็นหลักด้วยค่ะ)…แนบไปพร้อมกับบันทึกข้อความในการขอปรับเปลี่ยนค่ะ… ขณะที่ นายอำนาจ วิชยานุวัติ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะรักษาราชการเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กล่าวด้วยว่า เรื่องนี้ภายในวันที่ 20 ตุลาคมนี้ สพฐ.จะจัดสรรงบประมาณลงไปให้โรงเรียนเพื่อให้มีการจ้างต่อเนื่อง ดังนั้นสิ้นเดือนตุลาคมนี้โรงเรียนสามารถจ้างครูธุรการและนักการภารโรงตามอัตราเดิมได้ทันที ตนได้หารือกับสำนักงานพัฒนาบริหารงานบุคคล (สพร.) ของ สพฐ. ตอนนี้ยังเลยนะค่ะ…ต้องร้องเพลงรอก่อนค่ะ…การใช้สิทธิต่าง ๆ ต้องค่อยเป็นค่อยไปค่ะ…สืบเนื่องมาจากการร่างกฎหมาย…จะสังเกตเห็นได้จากการเอาใจ ดูแล ข้าราชการมากกว่ากระมังค่ะ…แต่ความเป็นจริงแล้ว เรื่องบุคคล ไม่ว่าประเภทไหน ก็ควรดูแลเหมือน ๆ กัน สิทธิได้ไม่เท่ากัน แต่ก็ควรดูแลบ้างค่ะ…เพราะไม่เช่นนั้น กฎหมายใหม่ เขาจะเรียกว่า “เลือกปฏิบัติ” ค่ะ…เป็นกำลังใจก็แล้วกันนะค่ะ…เพราะบางครั้ง เราไม่ได้เป็นผู้กำหนดระเบียบ + นโยบายค่ะ…จึงทำอะไรให้เป็นไปได้ดั่งใจเรา ค่อนข้างยากค่ะ… การเลื่อนขั้นเงินค่าจ้าง จากระดับ three เป็นระดับ 4 นั้น ขอให้คุณศึกษาหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0428/ว 38 ลงวันที่ 1 เม.ย.2553 เรื่อง การกำหนดคุณสมบัติ ฯ และอัตราค่าจ้างของลูกจ้างประจำ… ด้วยนะค่ะ เพราะจะกำหนดคุณสมบัติในการเข้าสู่ตำแหน่งไว้ค่ะ…
แสดงว่าของคุณเป็นส่วนท้องถิ่นใช่ไหมค่ะ…ถ้าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนท้องถิ่น ต้องใช้กฎหมายของท้องถิ่นค่ะ…ไม่สามารถใช้กับลูกจ้างประจำของส่วนราชการได้ค่ะ…ขึ้นอยู่กับส่วนราชการของคุณนะค่ะ… ถ้าคุณศึกษาตามที่ผู้เขียนแจ้งไว้ตามข้างต้น ก็สามารถทำได้ค่ะ…แต่ขณะนี้ต้องรอหนังสืออนุมัติกรอบอัตราจาก สำนักงาน ก.พ. เห็นชอบให้เข้าสู่ตำแหน่งใหม่ก่อนนะค่ะ… การเลื่อนขั้นค่าจ้างของลูกจ้างประจำ ถ้าใช้ระเบียบเดิมที่ไม่มี % เช่น ข้าราชการแล้วละก็ ก็ยังคิดเกณฑ์โควต้า 15 % มากำหนดในการคิด 2 ขั้นอยู่ค่ะ… เรียนสอบถามว่าเงินเดือน เม.ย.fifty four นี้ ลูกจ้างประจำได้รับ 5% และ thirteen % เหมือนข้าราชการหรือไม่ เพราะที่อ่านเจอไม่เห็นมีพูดถึงลูกจ้างประจำเลย มีแต่ครูเท่านั้น….. ลองปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + จนท.ที่รับผิดชอบดูนะค่ะ…เพราะสมัยก่อน ทางส่วนกลาง หรือ กรม จะเป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือกให้กับคุณไงค่ะ…
กำหนดให้ทำค่ะ…ลองดูนะค่ะ…อย่าลืมถามเจ้าหน้าที่เรื่องเงินเดือนใหม่ด้วยค่ะ เพราะจะพันมาถึงการเลื่อนขั้นค่าจ้างในวันที่ 1 ตุลาคม 2553 นี้นะค่ะ… ปัจจุบันเงินค่าจ้างจะอยู่ที่ ระดับ 2 เมื่อเงินเดือนเต็มแล้วไม่สามารถไหลไปที่ระดับ three ได้หรอกค่ะ เพราะปัจจุบันคุณอยู่ที่กลุ่มค่าจ้างกลุ่มที่ 1-2 เมื่อเงินเดือนเต็มแล้ว อยู่ที่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ดูให้คุณ อาจจะดำเนินการสอบเพื่อเลื่อนระดับให้กับคุณก็ได้ ข้อสอบที่ใช้สอบอาจเป็นลักษณะของ กฎหมาย ระเบียบที่คุณปฏิบัติเกี่ยวกับการเงินก็ได้ไงค่ะ… สำหรับข้อที่ว่า “เป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานในระดับชั้นที่มีความสัมพันธ์กับหน้าที่ความรับผิดชอบ” นั้น…หมายถึง เราเคยได้รับการผ่านการทดสอบมาตรฐานจากกรมฝีมือแรงงานไงค่ะ…ที่กรมฝีมือแรงงาน เขาจะมีการทดสอบเกี่ยวกับ เช่น ช่างไม้ ช่างปูน ช่างยนต์ เขาจะมีใบรับรองว่าเราได้ผ่านการทดสอบมาตรฐานการทำงาน เช่น ช่างไม้ เมื่อเทียบกับตำแหน่งช่างไม้ของการทำงาน จะอยู่ในระดับชั้นใด ระบุไว้ค่ะ…เช่น การรับรองคนที่ไม่ได้จบการศึกษา ม.6 ปวช. หรือปริญญาตรี…เรียกว่าไม่ได้เรียนในระบบ… แต่เขามีความชำนาญในการทำงานด้านช่างไม้ ช่างปูน คนกลุ่มนี้ ก็ไปให้กรมฝีมือแรงงานรับรองการมีความชำนาญการของเขา…เพื่อรับรองคนกลุ่มนี้ไปทำงานด้านการก่อสร้างในต่างประเทศไงค่ะ…กรมฝีมือแรงงาน เป็นสถาบันอีกสถาบันหนึ่งที่รับรองความสามารถ ความชำนาญการ ของคนที่ไม่ได้เรียนในระบบ (เรียนโรงเรียนประถม มัธยม มหาวิทยาลัยค่ะ…)…เป็นการให้โอกาสผู้ที่ไม่สามารถเรียนในระบบได้ค่ะ… ก็ได้ค่ะ เกี่ยวกับการเป็นหัวหน้างาน เพราะในส่วนราชการของคุณที่พนักงานธุรการ เพียง 1 คน ผู้เขียนก็ไม่แน่ใจว่าจะได้หรือไม่ เพราะจากที่ศึกษาในหน้าที่นั้น เหมือนกับว่า ตำแหน่งดังกล่าวต้องเป็นตำแหน่งที่ให้หัวหน้ามีลูกน้องในหน่วยงานด้วยค่ะ ยกตัวอย่างเช่น ในส่วนราชการนั้นมีเจ้าหน้าที่ธุรการ หลายคน จึงจำเป็นต้องมีหัวหน้างาน (พนักงานธุรการ) เพื่อที่จะได้ประสานงานภายในงานธุรการได้ไงค่ะ…ลองสอบถามที่ ก.พ.
สำหรับกรณีที่คุณยังไม่เคยทำหน้าที่ดังกล่าวข้างต้น ส่วนราชการอาจกำหนดภาระงานให้คุณ แล้วทำการสอบคัดเลือกก็ได้ค่ะ… การทำงานเกี่ยวกับบุคคล เป็นงานที่เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ของบุคลากรของส่วนราชการ ทุกประเภทจะต้องมีความเทียมเทียมกันเพราะไม่เช่นนั้น ในอนาคตมีการขึ้นศาลปกครองได้ค่ะ เพียงแต่ผู้ใต้บังคับบัญชายังรู้กฎหมายไม่มาก ถ้าบางส่วนราชการไปพบเจอบุคคลที่เรียกว่า รู้กฎหมายมาก ๆ ถึงกับมีการขึ้นศาลปกครองได้ค่ะ เพราะในระดับ ม. ให้ดูระเบียบดี ๆ นะค่ะ ว่าใช้ในกรณี นับเวลาการปฏิบัติงานทวีคูณ ในช่วงเวลาใด ใช้ในตอนเกษียณหรือไม่ เพราะการนับเวลาปกติ ส่วนมากเขาจะไม่ทำกัน จะนับให้ก็ต่อเมื่อเกษียณไงค่ะ…ลองศึกษาดูนะค่ะ เพราะผู้เขียนยังไม่ได้ศึกษาในเรื่องนี้ ช่วงนี้งานมากค่ะ…
ปัจจุบัน การเป็นข้าราชการ ลูกจ้างประจำ มีหลากหลายสังกัดเหลือเกินค่ะ ไม่เหมือนสมัยก่อน การที่จะแจ้งอะไรให้ทราบก็ต้องให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนจึงจะนำมาแจ้งได้ค่ะ ขอบคุณล่วงหน้านะค่ะ… คงต้องรอกฎหมายของลูกจ้างประจำก่อนกระมังค่ะ…เพราะตอนนี้ยังไม่เห็นมีค่ะ เอาไว้จะถามกรมบัญชีกลางให้แล้วจะมาบอกนะค่ะ… ต้องเริ่มต้นเงินเดือนของการเป็นครูผู้ช่วยค่ะ เงินเดือนไม่สามารถนำมารวมกันได้ค่ะ เพราะเป็นบุคลากรภาครัฐคนละประเภทกัน ภาระงานก็แตกต่างกันค่ะ… ให้ดูที่คำสั่งที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติ ถ้ามีคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งพนักงานห้องสมุดได้ ก็ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ ถ้าสามารถเปลี่ยนได้ก็ให้ดำเนินการได้ค่ะ…
ตอบแล้วค่ะ…เพราะปัจจุบัน ของมหาวิทยาลัยที่ทำงานอยู่ ทาง ก.พ. แจ้งว่า ให้รอก่อนค่ะ เพราะต้องเห็นใจ สำนักงาน ก.พ. ไม่ได้ทำให้เราหน่วยงานเดียว ทั้งประเทศนะค่ะ…หน่วยงานก็เยอะ ต้องอดใจรอค่ะ…
มีอีกวิธีหนึ่งค่ะ ให้สอบถามไปที่กรมบัญชีกลาง ดูนะค่ะ เพื่อเจ้าหน้าที่ของกรมบัญชีกลางจะได้ชี้แนะได้บ้างค่ะ…ได้ผลอย่างไร แจ้งให้พี่ทราบด้วยในกระทู้นี้นะค่ะ เพื่อบอกให้เพื่อน ๆ ได้ทราบข่าวความเคลื่อนไหวไงค่ะ… ของข้าราชการเพิ่งจะประกาศในกฤษฎีกา ของลูกจ้างประจำคงต้องรอนะค่ะ เพราะพนักงานราชการก็ออกมาใช้แล้ว อาจไม่เกินเดือนเมษายน 2554 นี้หรอกค่ะ ถ้ามีจะรีบนำมาแจ้งให้ทราบนะค่ะ… เพราะบางครั้ง มีลูกจ้างฯ ไปถาม แต่ก็ยังบอกไม่ได้ ไม่ทราบ ไม่รู้…ถ้าไม่ทราบก็ต้องศึกษา หาความรู้จากส่วนราชการอื่น…ไม่ใช่บอกปัด แล้วไม่ตอบทำให้ลูกจ้างเกิดความงง และจะกลายเป็นผลเสียในอนาคตได้ค่ะ… ลองสอบถามหัวหน้าส่วนราชการดูนะค่ะ ว่าใช่หรือไม่ ถ้าใช่ แล้วถามว่า ตำแหน่งของคุณสามารถปรับเปลี่ยนได้หรือไม่ หรือศึกษาในกระทู้ที่พวกเพื่อน ๆ ได้ถามมาก็ได้ค่ะ…ขอบคุณค่ะ… เป็นการขยายกลุ่มบัญชีค่าจ้างให้ แต่เงินค่าจ้างก็ไปรับที่กลุ่ม 1 จนเต็มเพดานค่ะ ถึงจะปรับเปลี่ยนไปที่กลุ่ม 2 เพราะผู้เขียนได้สอบถามที่กรมบัญชีกลางให้แล้วค่ะ…
2553 แล้ว ให้สอบถามว่าจะให้คุณดำเนินการเปลี่ยนได้เมื่อใด…เสียดายโอกาสที่คุณสามารถเปลี่ยนตำแหน่งได้แล้วตั้งแต่แรกก่อนที่จะมีการเปลี่ยนระบบลูกจ้างประจำ…ถ้ามีคำสั่งแล้วคุณปฏิบัติได้จริงตามนั้น คุณก็สามารถที่จะเปลี่ยนตำแหน่งเป็นพนักงานเก็บเอกสารได้…ขอให้ดูหน้าที่ที่แต่งตั้งให้ละเอียด + ศึกษาหน้าที่ (โดยย่อ) ที่ ก.พ. กำหนดให้ ให้ละเอียดชัดเจน จะได้ทำให้ไม่เสียสิทธิ์ที่คุณควรพึงได้รับการแต่งตั้ง…ขอบคุณค่ะ… (แต่ต้องถามแบบข้างต้นนะค่ะ เกรงว่าจะเข้าใจไม่ตรงกันค่ะ)… ขอให้คุณศึกษารายละเอียดตามเว็บไซต์ หัวข้อ ด้านล่างนี้นะค่ะ เพราะผู้เขียนนำเรื่องปัจจุบันลงไว้ให้ทราบแล้วค่ะ…และสามารถดูค่าจ้างเทียบกับปัจจุบันได้เลยค่ะ… สำหรับการเปลี่ยนเป็นพนักงานการเงินและบัญชี ให้คุณดูคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งในการเปลี่ยนเป็นพนักงานการเงินและบัญชี รหัส 2101 ให้ละเอียดนะค่ะ ว่าคุณมีคุณสมบัติได้หรือไม่ เพราะที่แจ้งมาไม่ละเอียดค่ะ…จึงไม่สามารถบอกได้ว่าได้หรือไม่ อาจจะเกี่ยวเนื่องกับที่คุณต้องไปเริ่มที่ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ระดับ 1 ใหม่ และปกติคุณก็ตำแหน่งพนักงานพิมพ์ ระดับ three กลุ่มงานสนับสนุนเหมือนกัน จะทำให้ดูเหมือนว่าคุณถอยหลังไป ลองศึกษาตามเว็บไซต์ด้านล่างนี้นะค่ะ… สำหรับการปรับเปลี่ยนตำแหน่งของลูกจ้างประจำในตอนนี้…เช่นการเปลี่ยตำแหน่ง เปลี่ยนระดับชั้นให้สูงขึ้น นั้น…เมื่อวานผู้เขียนได้คุยทางโทรศัพท์กับเจ้าหน้าที่ของกรมบัญชีกลาง ท่านแจ้งมาว่า ตามที่สำนักงาน ก.พ.
ทั้งนี้ ให้ปรึกษากับเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ + หัวหน้าส่วนราชการด้วยค่ะ… สงกรานต์ว่าจะไปทำบุญให้แม่ที่วัดค่ะ…แล้วก็มาเก็บกวาดบ้านค่ะ… ยังเป็นขั้นอยู่ค่ะ…ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงจะนำมาแจ้งให้ทราบค่ะ…
2553 นี้…ก็ได้รับเงินค่าจ้างในอัตราใหม่ด้วยค่ะ…แต่อาจช้านิดหนึ่งนะค่ะ…ตามที่แจ้งตามข้างต้นค่ะ… ของกรมอาชีวศึกษา ใช้ระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ที่พี่ว่านี้นะค่ะ…ถ้าใช้ระเบียบฉบับเดียวกัน ทำไมถึงไปเปลี่ยนตำแหน่งของลูกจ้างประจำตำแหน่งเดิมเขาละค่ะ…ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ที่ ก.พ. กำหนดก็มีนี่ค่ะ…แสดงว่าอยู่ที่ต้นสังกัดดำเนินการให้กับลูกจ้างประจำแล้วนะค่ะ…ลองสอบถามเจ้าหน้าที่ คือ งานการเจ้าหน้าที่ดูนะค่ะ ว่าเปลี่ยนเพราะเหตุใด แล้วตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยนคือ ตำแหน่งใด เพราะไม่ได้แจ้งให้พี่ทราบ จึงไม่ทราบว่าคุณตำแหน่งใดในปัจจุบัน…ตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยน ก็ต้องมีในตำแหน่งที่สำนักงาน ก.พ. ระบุ เป็นมาตรฐานกำหนดตำแหน่งด้วยนะค่ะ ถ้าไม่อย่างนั้นแล้ว จะมีปัญหาในภายหน้าค่ะ…สำหรับการเปลี่ยนตำแหน่งใหม่อีก ต้องดูด้วยนะค่ะ ว่าเราสามารถที่จะก้าวหน้าไปได้อีกหรือไม่…และปัจจุบันทำอยู่หรือไม่ ถ้าตำแหน่งเดิมดีอยู่แล้วก็ไม่ควรเปลี่ยนนะค่ะ…
ที่พูดมาทั้งหมด จะเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการนะค่ะ…ถ้าเป็นท้องถิ่น ไม่ใช่ค่ะ… แจ้งเวียนหนังสือให้ทราบเรื่องกรอบอัตรากำลัง ภายในเดือนพฤษภาคม 2553 นี้ค่ะ… ลองศึกษาไฟล์ด้านล่างนี้ดูนะคะ และค่อย ๆ ศึกษาค่ะ จากบล็อกด้านบนเป็นเรื่องใหม่สุดค่ะ… ให้ศึกษาเรื่องการปรับเข้าสู่ตำแหน่ง ซึ่ง ก.พ.
เป็นกรม แล้วมีจำนวนลูกจ้างประจำ แค่ 35 คนเองค่ะ….จึงได้รับเรื่องแล้ว…ขอให้ลูกจ้างประจำทุกคนใจเย็นนิดนะค่ะ…คงได้รับกรอบอัตรากำลังเร็ว ๆ นี้แหล่ะค่ะ…และก็ขอแสดงความยินดีด้วยค่ะ… สำหรับลูกจ้างประจำนั้น การจ้างของรัฐก็ต้องดูในเรื่องการบรรจุในครั้งแรกค่ะว่า รัฐจ้างมาเป็นลูกจ้างประจำด้วยวุฒิการศึกษาใด ต่อมาเมื่อเรียนจบนั้น ก็ไม่ใช่หมายความว่า สามารถนำวุฒินั้นมาปรับให้ขั้นค่าจ้างสูงขึ้นได้เลย…อาจมีบางตำแหน่งที่ต้องใช้วุฒิที่สูงขึ้นได้ แต่บางตำแหน่งก็ไม่ใช่ต้องใช้วูมิสูงขึ้นนั้นหรอกค่ะ… ถ้าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการก็สามารถตอบได้ค่ะ…แต่คุณเป็น ของสังกัด อบจ.
ถ้าคุณสมบัติใหม่ไม่มีลูกน้องมาเกี่ยวข้องก็ไม่น่าจะต้องนำมาเป็นเกณฑ์นี่ค่ะ แต่ให้สอบถามเพื่อความถูกต้องอีกครั้งค่ะ… สำหรับผู้เขียนจะทำได้ก็อีกประมาณ eleven ปี ค่ะ เพราะถ้าเกษียณไปแล้ว ก็คงให้เด็ก ๆ รุ่นใหม่ มาทำแทนแล้วละค่ะ… ขอบคุณมากๆๆ เลยค่ะสำหรับคำตอบที่ช่วยคลายความสงสัยคะ…